การพัฒนาแหล่งเรียนรู้โมเดลบ่อล่อปลา โดยภูมิปัญญาชาวบ้าน

วิจัย

การพัฒนาแหล่งเรียนรู้โมเดลบ่อล่อปลาโดยภูมิปัญญาชาวบ้านของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานราธิวาส

      จากการลงพื้นที่สำรวจ พบว่าภูมิปัญญาบ่อล่อปลาเหลืออยู่ในชุมชนน้อยมาก หลายชุมชนได้สูญหายไปหมดแล้ว และบางชุมชนเหลือแต่ภูมิปัญญา แต่ตัวบ่อล่อปลาไม่มีหลงเหลืออีกต่อไป เนื่องจากบ่อล่อปลามักจะขุดบริเวณที่ลึกที่สุดของพื้นที่นาใกล้แหล่งน้ำ และอาศัยกลไลของน้ำท่วมไหลหลากธรรมชาติในการล่อปลาให้มาเข้าบ่อ การรักษาระดับน้ำในระบบนิเวศจึงส่งผลกระทบต่อการดำรงอยู่ของบ่อล่อปลา จังหวัดนราธิวาสแม่น้ำลำคลองหลายสายที่ขุดเพื่อป้องกันน้ำท่วม เมื่อไม่มีน้ำท่วม จึงไม่มีบ่อล่อปลา

      โครงการวิจัยบ่อล่อปลาของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานราธิวาส ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ โดยการศึกษาภูมิปัญญาชาวบ้านในจังหวัดนราธิวาสและปัตตานีบางส่วน แล้วนำมาออกแบบโมเดลบ่อล่อปลา เพื่อใช้ทดลองล่อปลาในพื้นที่จริง และถ่ายทอดเป็นความรู้ในการประกอบอาชีพให้แก่เกษตรกรรอบพรุต่อไป

      รับชมวีดิทัศน์นิทรรศการ : บ่อล่อปลา 

บทคัดย่อ

 

บทที่ 1 : บทนำ

 

บทที่ 2 : ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

 

บทที่ 3 : วิธีดำเนินการวิจัย

 

บทที่ 4 : ผลการสำรวจ

 

บทที่ 5 : วิจารณ์และสรุปผลการศึกษา
 

 

ภาคผนวก

 

คู่มือปลาในศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานราธิวาส

ปลาในศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานราธิวาส

ใส่ความเห็น